วันอังคารที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

แบบบันทึกหน่วยการเรียนรู้

เรื่อง   การเขียนนิทานและเรื่องเล่า

รหัส-ชื่อรายวิชา     ท ๓๐๒๑๑ -   การเขียนเชิงสร้างสรรค์     (การเขียนนิทานและเรื่องเล่า)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย   ชั้นม.๔        ภาคเรียนที่                   เวลา     ชั่วโมง 
ผู้สอน  นางสาวณัฐพร   เอี่ยมหรุ่น                                               โรงเรียนประสาทรัฐประชากิจ



๑.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
การคัดลายมือด้วยตัวบรรจงตามรูปแบบอักษรไทย หลักการเขียนข้อความตามสถานการณ์ หลักการเขียนคำขวัญ คำคม อำนวยพรต่างๆหลักการเขียนชีวประวัติ อัตชีวประวัติ การเขียนย่อความ นิทาน ตำนาน สารคดี หลักการเขียนชี้แจงและโต้แย้งต่างๆใช้หลักการเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินความรู้ มารยาทในการเขียน
                ตัวชี้วัด
. เขียนชีวประวัติหรืออัตชีวประวัติโดยเล่าเหตุการณ์  ข้อคิดเห็น และทัศนคติในเรื่องต่างๆ
๒. เขียนย่อความ
๓.  เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าและโครงงาน

๒.สาระสำคัญ
                ความคิดและการถ่ายทอดความคิดเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของการเขียน   ซึ่งความคิดจะเกิดขึ้นจากการสร้างเสริมความรู้และประสบการณ์ ส่วนกระบวนการถ่ายทอดความคิดอยู่ที่ทักษะการใช้ภาษาและควรฝึกเขียนอย่างสม่ำเสมอ ฝึกงานเขียนที่เริ่มต้นจากการใช้ภาษาง่ายๆ ถ้อยคำกะทัดรัด ได้แก่ การเขียนนิทานและการเขียนเล่าเรื่อง งานเขียนทั้งสองประเภทนี้นอกจากจะได้ฝึกทักษะการเขียนของตนเอง แล้วยังมีคุณค่าแก่ผู้อ่านได้ดีทุกเพศทุกวัยอีกด้วย

๓.สาระการเรียนรู้
ความรู้
.   การเขียนนิทาน
                .   การเขียนเรื่องเล่า
ทักษะ / กระบวนการ
๑. ปฏิบัติกิจกรรมการเรียนร่วมกับผู้อื่นได้

คุณลักษณะ
๑.ความมีมนุษยสัมพันธ์                    ๖.การประหยัด
๒.ความมีวินัย                                      ๗.ความสนใจใฝ่รู้
๓.ความรับผิดชอบ                             ๘.การละเว้นสิ่งเสพติดและการพนัน
๔.ความซื่อสัตย์สุจริต                         ๙.ความรักสามัคคี
๕.ความเชื่อมั่นในตนเอง                  ๑๐.ความกตัญญูกตเวที

.การบูรณาการ
บูรณาการกับวิชาอื่นๆ  ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้

๕.กิจกรรมการเรียนรู้  ชั่วโมงที่  ๑ – ๒
(ใช้วิธีการสอน/เทคนิคการสอน)    ศูนย์การเรียน เทคนิคร่วมกันเรียนรู้
ขั้นนำ(อธิบายวิธีการดำเนินกิจกรรม)
.   แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ
.   ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน
ขั้นกิจกรรม(อธิบายวิธีการสอน)
.   ให้นักเรียนฟังนิทานเรื่อง อำนาจจิตศรัทธา จากแถบบันทึกเสียง
.   นักเรียนและครูร่วมกันสรุปข้อคิดที่ได้จากนิทานนี้ และครูชี้ให้เห็นว่านิทานจะต้องมีข้อคิดและคติสอนใจให้แก่ผู้ฟังหรือผู้อ่าน ๑ ข้อเป็นสำคัญ
.   ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔ คน ทำใบงาน เรื่อง การเขียนนิทาน
.   ให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานของตนเองหน้าชั้นเรียน
ขั้นสรุป(ผู้เรียนได้องค์ความรู้/กระบวนการ/คุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์)
.   นักเรียนและครูสรุป ชื่นชมผลงานของแต่ละกลุ่ม และสรุปความรู้หลักการเขียนนิทาน

๕.กิจกรรมการเรียนรู้  ชั่วโมงที่   
(ใช้วิธีการสอน/เทคนิคการสอน)    ศูนย์การเรียน เทคนิคร่วมกันเรียนรู้
ขั้นนำ(อธิบายวิธีการดำเนินกิจกรรม)
.   ครูสุ่มตัวแทนนักเรียน ๑ คน เล่าเรื่องประสบการณ์ที่ประทับใจให้เพื่อนฟัง
ขั้นกิจกรรม(อธิบายวิธีการสอน)
.   นักเรียนและครูร่วมอภิปรายคุณค่าของการเขียนเรื่องเล่า เพื่อเก็บประสบการณ์ของวันนี้ ไว้เป็นประวัติศาสตร์ในวันหน้า
.   ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ และปฏิบัติกิจกรรมในใบงาน เรื่อง การเขียนเรื่องเล่า
.   สุ่มตัวแทนนักเรียนนำเสนอหน้าชั้นเรียน ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้จากการเขียน
เรื่องเล่า
ขั้นสรุป(ผู้เรียนได้องค์ความรู้/กระบวนการ/คุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์)
.   นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน

๖.สื่อ/แหล่งเรียนรู้
                ๖.๑สื่อการเรียนรู้
    ๑.   หนังสือเรียนสาระพื้นฐานภาษาไทย
                .   ใบความรู้ เรื่อง การเขียนเรื่องเล่า
                .   ใบงาน เรื่อง การเขียนนิทาน
                .   ใบงาน เรื่อง การเขียนเรื่องเล่า
                .   แถบบันทึกเสียงนิทานเรื่อง อำนาจจิตศรัทธา
                .   แบบประเมินการเขียน
                ๖.๒แหล่งเรียนรู้
    ๑.ห้องสมุด
                ๒.แหล่งข้อมูลสารสนเทศ

๗.ชิ้นงาน/ภาระงานของผู้เรียน(ระบุให้ชัดเจนว่าผู้เรียนทำอะไร)
                .   ใบงาน เรื่อง การเขียนนิทาน
                .   ใบงาน เรื่อง การเขียนเรื่องเล่า
๘.การวัดผลและประเมินผล
การประเมินผล
สิ่งที่ต้องการวัด
วิธีวัดผล
เครื่องมือวัดผล
เกณฑ์การประเมิน
.   อธิบายองค์ประกอบของนิทานได้
.   รู้และเข้าใจหลักการเขียนทั่วๆ ไป
.   สามารถเขียนนิทานได้อย่างสร้างสรรค์
.   สามารถเขียนเรื่องเล่าอย่างสร้างสรรค์ได้

.   ตรวจผลการปฏิบัติกิจกรรมในใบงาน
.   ประเมินผลการเขียนนิทาน/เรื่องเล่า
.   ตรวจแบบทดสอบก่อน-หลังเรียน

.   ใบงาน
.   แบบประเมินการเขียนนิทาน/เรื่องเล่า
.   แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน

๑)การวัดผลสัมฤทธิ์จากแบบทดสอบ
๘๐%  ขึ้นไป =  ดีมาก
๗๐  - ๗๙%  =  ดี
๖๐  -  ๖๙%  = เกือบดี
๕๑  - ๕๙% = ปานกลาง
๕๐% = ผ่าน
)   การประเมินใบงาน
แบบที่ ๑ ประเมินเฉพาะความถูกต้อง
ถูกต้อง ๘๐% ขึ้นไป=ดีมาก
ถูกต้อง ๗๐ - ๗๙%  = ดี
ถูกต้อง ๖๐ - ๖๙%= ปานกลางถูกต้องต่ำกว่า ๖๐%= ปรับปรุง
แบบที่ ๒ ประเมินความถูกต้องและความคิดสร้างสรรค์      
๔คะแนน  = ดีมาก
๓ คะแนน = ดี
๒ คะแนน = พอใช้
๑ คะแนน =  ปรับปรุง
)   การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
๒๑ - ๓๐ คะแนน   = ดี
๑๑ - ๒๐ คะแนน   = พอใช้
 - ๑๐    คะแนน   = ปรับปรุง
)   แบบประเมินผลงานกลุ่ม
๑๑ - ๑๕  คะแนน   = ดี
 ๑๐   คะแนน   = พอใช้
 -       คะแนน = ปรับปรุง




 การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ครูผู้สอนนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดการเรียนรู้อย่างไร

       ห่วง
      ประเด็น
ความพอประมาณ
ความมีเหตุผล
การสร้างภูมิคุ้มกันในตัว
เนื้อหา/สาระที่สอน
-ครูวางแผนในการจัดการเนื้อหาที่เหมาะสมกับเวลา  ผู้เรียน
-เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการในการเรียนรู้ที่ครบถ้วน
-ครูจัดการสอนได้ครบถ้วนเหมาะสมกับผู้เรียนทุกคน
เวลา
-ครูจัดเวลาได้เหมาะสมเพียงพอต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
-เพื่อให้การดำเนินการสอนเป็นไปอย่างราบรื่น
-ครูใช้เวลาได้คุ้มค่าเหมาะสมไม่ส่งผลกระทบต่อตนเอง  ผู้เรียนและเพื่อนร่วมงาน
กิจกรรมการเรียนการสอน
-ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้เหมาะสมเพียงพอต่อการรับรู้ของผู้เรียน
-เพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้อย่างครบถ้วน สนุกสนานและเกิดประโยชน์สูงสุด
-ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้ครบถ้วนเหมาะสมกับผู้เรียนทุกคน
อุปกรณ์/สื่อ
-ครูจัดเตรียมอุปกรณ์ที่สอดคล้องและเอื้อประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอน
-เพื่อนักเรียนจะได้ใช้สื่อและอุปกรณ์ต่างๆให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการเรียนรู้
-ครูจัดการเรียนการสอนได้ถูกต้องตรงตามเนื้อหาไม่หลงประเด็นในการสอน                                            -ครูจัดการเรียนการสอนได้ถูกต้องตรงตามเนื้อหาไม่หลงประเด็นในการสอน
ความรู้
ครูมีความรู้ความเข้าใจในการจัดกิจกรรมการรู้เรื่องการเขียนนิทานและเรื่องเล่า รู้หลักจิตวิทยา และรู้วิธีวัดประเมินผลนักเรียน
คุณธรรม
ครูมีความขยัน อดทนในการออกแบบการเรียนรู้ มีความรับผิดชอบในกิจกรรมการเรียนการสอนและมีเมตตาธรรม อคติ 4 ต่อนักเรียนทุกคน


คุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงที่เกิดกับผู้เรียน
ความพอประมาณ
ความมีเหตุผล
การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว
-                   ทำแบบทดสอบได้ถูกต้องตามเกณฑ์และตรงตามเวลาที่กำหนด
-                   ใช้ภาษาได้เหมาะสมไม่ทำให้ตนและผู้อื่นเดือดร้อน
- การเรียนรู้เรื่องการเขียนนิทานและเรื่องเล่าเป็นทักษะกระบวนการหนึ่งในการใช้ทักษะทางภาษาในการนำเสนองานโดยเสริมทักษะการใช้ภาษาอย่างสร้างสรรค์
- นักเรียนตระหนักถึงคุณค่าทางภาษา                                                          - นักเรียนมีทักษะกระบวนการด้านภาษาและใช้ภาษาได้เหมาะสม                   
- นักเรียนมีทักษะในการวางแผนในการทำงาน                                           
                     
ความรู้      -   นักเรียนมีความรู้เรื่องการเขียนนิทานและเรื่องเล่า
คุณธรรม    -  ขยันในการปฏิบัติงาน  มีระเบียบวินัยในการทำงาน  มีความรับผิดชอบ  ประหยัดในการใช้วัสดุอุปกรณ์ในการเรียน  มีวินัยและทำงานเสร็จตรงตามเวลากำหนด


ส่งผลต่อความสมดุล  มั่นคง  ยั่งยืนใน    มิติ  ดังนี้
มิติวัตถุ
มิติสังคม
มิติสิ่งแวดล้อม
มิติวัฒนธรรม
-มีความรู้เรื่องการใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มีคุณค่า
- มีความรู้ในการทำงานร่วมกับผู้อื่นยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรู้เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
- มีความรู้ความเข้าใจด้านภาษา
- มีทักษะในการใช้วัสดุอุปกรณ์ให้เกิดคุณค่าสูงสุด
- มีทักษะกระบวนการในการทำงานร่วมกับผู้อื่นยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
- ใช้ภาษาได้ถูกต้องเหมาะสม
- ใช้วัสดุอุปกรณ์ให้เกิดคุณค่าสูงสุด
- มีความรับผิดชอบต่อคำพูดและการกระทำของตน                                             - ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- ใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด
- สืบสานและอนุรักษ์ภาษา


.บันทึกหลังสอน
ผลการจัดการเรียนรู้
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
ปัญหาที่เกิดขึ้น
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
แนวทางการแก้ไขปัญหา
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะ
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
ความเห็นฝ่ายวิชาการ
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
                                                                                     ลงชื่อ....................................................................
                                                                                                              (นายกมล   เฮงประเสริฐ)
                                                                                                    ................./................../..................ความเห็นผู้อำนวยการโรงเรียน
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
                                                                                     ลงชื่อ....................................................................
                                                                                                                       (นายมงคล   ชื่นชม)
                                                                                                           ................./................../................





ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น