วันพุธที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การเขียนเรียงความ

แบบบันทึกหน่วยการเรียนรู้
เรื่อง  การเขียนเรียงความ
รหัส-ชื่อรายวิชา     ท ๓๐๒๑๑ -   การเขียนเชิงสร้างสรรค์     (การเขียนเรียงความ)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย   ชั้นม.๔        ภาคเรียนที่                   เวลา     ชั่วโมง 
ผู้สอน  นางสาวณัฐพร   เอี่ยมหรุ่น                                               โรงเรียนประสาทรัฐประชากิจ

๑.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
เรียงความเป็นงานเขียนชนิดหนึ่ง ที่ผู้เขียนมีจุดประสงค์จะถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจและความรู้สึกนึกคิดของตนออกมาเป็นเรื่องราวให้ผู้อ่านทราบและเข้าใจการรู้หลักในการเขียนเรียงความ จะทำให้เขียนเรียงความไดอย่างสละสลวยและบรรลุตามวัตถุประสงค์
                ตัวชี้วัด
.  คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด
. เขียนข้อความโดยใช้ถ้อยคำได้ถูกต้องตามระดับภาษา
๓.  เขียนอธิบาย  ชี้แจง  แสดงความคิดเห็นและโต้แย้งอย่างมีเหตุผล

๒.สาระสำคัญ
                นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการเขียนเรียงความและสามารถเขียนเรียงความได้อย่างสละสลวยและถูกต้อง
๑.   อธิบายความหมายของเรียงความได้
             ๒.  บอกองค์ประกอบของเรียงความและกลวิธีการเขียนองค์ประกอบแต่ละอย่างได้
             ๓.  อธิบายถึงลักษณะของเรียงความที่ดีได้

๓.สาระการเรียนรู้
ความรู้
๑.  ความหมายของเรียงความ
๒. องค์ประกอบของเรียงความ
๓.  ลักษณะของเรียงความที่ดี
๔.  ตัวอย่างเรียงความ
                ทักษะ / กระบวนการ
๑.ปฏิบัติกิจกรรมการเรียนร่วมกับผู้อื่นได้
คุณลักษณะ          
๑.ความมีมนุษยสัมพันธ์                    ๖.การประหยัด
๒.ความมีวินัย                                      ๗.ความสนใจใฝ่รู้
๓.ความรับผิดชอบ                             ๘.การละเว้นสิ่งเสพติดและการพนัน
๔.ความซื่อสัตย์สุจริต                         ๙.ความรักสามัคคี
๕.ความเชื่อมั่นในตนเอง                  ๑๐.ความกตัญญูกตเวที

.การบูรณาการ
บูรณาการกับวิชาอื่นๆ  ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้

๕.กิจกรรมการเรียนรู้  ชั่วโมงที่ 
(ใช้วิธีการสอน/เทคนิคการสอน) การสอนแบบ ๔  MAT
ขั้นนำ(อธิบายวิธีการดำเนินกิจกรรม)
๑.  นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนการเรียนรู้
๒.  นำเรียงความเรื่องสั้นๆ เรื่องหนึ่ง มาอ่านให้นักเรียนฟัง แล้วสนทนากับนักเรียน
ขั้นกิจกรรม(อธิบายวิธีการสอน)
๓.  นักเรียนศึกษา ใบความรู้ เรื่อง การเขียนเรียงความโดยครูอธิบายประกอบ เริ่มตั้งแต่
๓.๑  ความหมายของเรียงความ
๓.๒  องค์ประกอบของเรียงความ
คำนำ วิธีเขียนคำนำ ตัวอย่างคำนำแบบต่างๆ
เนื้อเรื่องและการเรียบเรียงเนื้อเรื่อง
สรุป วิธีเขียนสรุป ตัวอย่างสรุปแบบต่างๆ
๓.๓ ลักษณะของเรียงความที่ดี
๔. แจกตัวอย่างเรียงความเรื่อง สารไอโอดีนกับคุณภาพชีวิตของนางสาว ปวีณา ประสงค์ดี  ให้นักเรียนศึกษาลักษณะในการเขียนต่างๆ พร้อมครูอธิบายประกอบ เพื่อเป็นแนวทางในการเขียนเรียงความของนักเรียนต่อไป เช่น
-                   วิธีการขึ้นคำนำ            วิธีการเรียบเรียงเนื้อเรื่อง                   วิธีการสรุป 
ขั้นสรุป(ผู้เรียนได้องค์ความรู้/กระบวนการ/คุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์)
๑.   นักเรียนและครูช่วยกันสรุปสาระการเรียนรู้ เรื่องการเขียนเรียงความ
                ๒.  นักเรียนทำใบงาน
๕.กิจกรรมการเรียนรู้  ชั่วโมงที่ 
(ใช้วิธีการสอน/เทคนิคการสอน) การสอนแบบ ๔  MAT
ขั้นนำ(อธิบายวิธีการดำเนินกิจกรรม)
๑.  ครูและนักเรียนช่วยกันทบทวนบทเรียนที่ผ่านมา
ขั้นกิจกรรม(อธิบายวิธีการสอน)
๒. นักเรียนศึกษา ใบความรู้ เรื่อง การเขียนเรียงความ ตัวอย่าง : เรียงความเรื่องเทศกาลตรุษสงกรานต์ให้นักเรียนอ่านทีละย่อหน้าตั้งแต่ย่อหน้า (1) ถึง ย่อหน้า (13) โดยให้อ่านในใจอย่างรวดเร็ว
            ๓. นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์โครงเรื่องของเรียงความเรื่องเทศกาลตรุษสงกรานต์ซึ่งจะได้เป็นแนวทางในการเขียนโครงเรื่องของนักเรียนต่อไป โครงเรื่องเทศกาลตรุษสงกรานต์ แยกได้ดังนี้
                                        ๑.  คำนำ  กล่าวถึงประเพณีอย่างหนึ่งที่มีขึ้นสอดคล้องกับอุณหภูมิที่ร้อนอบอ้าวและถือเป็นเอกลักษณ์ของชาติอีกด้วยนั้นคือ เทศกาลตรุษสงกรานต์
      ๒.  เป็น   เนื้อเรื่อง   แยกได้ดังนี้  
                                        - ความหมายของคำ ตรุษและ สงกรานต์
            - กำหนดวันตรุษสงกรานต์
                                        - การแต่งกายในวันตรุษสงกรานต์
                                        - ขนมในเทศกาลตรุษสงกรานต์
            - การทำบุญในวันสงกรานต์
            - การก่อพระเจดีย์ทราย
            - การสรงน้ำพระ
            - การรดน้ำผู้ใหญ่เพื่อขอพร
            - การเล่นสาดน้ำในวันสงกรานต์
            - การปล่อยนกปล่อยปลา
            - การเล่นรื่นเริงในวันสงกรานต์
            ๓. สรุป  โดยการวิงวอนให้ช่วยกันอนุรักษ์เทศกาลตรุษสงกรานต์นี้ไว้ให้คงอยู่เป็นเอกลักษณ์ชาติสืบต่อไป
             ๔. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มๆ ให้แต่ละกลุ่มเขียนโครงเรื่องในการเขียนเรียงความตามหัวข้อต่อไปนี้
กลุ่ม ๑   เรื่อง       “เศรษฐกิจพอเพียง”
กลุ่ม ๒  เรื่อง       ตามรอยพ่อหลวง
กลุ่ม ๓   เรื่อง       เพื่อนแท้
กลุ่ม ๔   เรื่อง       ความมีไมตรีจิตต่อกัน
          ๕. ตัวแทนกลุ่มออกมานำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน ผู้ฟังกลุ่มอื่นๆ สามารถวิจารณ์ แสดงความคิดเห็นให้มีการปรับปรุงแก้ไขหรือเพิ่มเติมได้ เมื่อทุกกลุ่มรายงานจบแล้วให้ส่งรายงานที่ครู
ขั้นสรุป(ผู้เรียนได้องค์ความรู้/กระบวนการ/คุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์)
          ๖.สรุปผลการเขียนโครงเรื่องเรียงความตามหัวข้อที่กำหนดให้ของนักเรียนแต่ละกลุ่มว่า ถูกต้อง และเหมาะสมเพียงใด
         ๗.   นักเรียนและครูช่วยกันสรุปบทเรียนอีกครั้ง
         ๘.  นักเรียนทำใบงาน

๖.สื่อ/แหล่งเรียนรู้
                ๖.๑สื่อการเรียนรู้
                ๑.  ตัวอย่าง เรียงความเรื่องสั้นๆ
                ๒.  ใบความรู้เรื่อง การเขียนเรียงความ
                ๓.  ตัวอย่างการเขียนเรียงความ เรื่อง  สารไอโอดีนกับคุณภาพชีวิต
                ๔.  ใบงาน
      ๕.  แบบทดสอบก่อนการเรียนรู้
                ๖.๒แหล่งเรียนรู้
                ๑.ห้องสมุด
                ๒.แหล่งข้อมูลสารสนเทศ

๗.ชิ้นงาน/ภาระงานของผู้เรียน(ระบุให้ชัดเจนว่าผู้เรียนทำอะไร)
๑. ตรวจใบงาน
๒. ตรวจแบบฝึกหัด
๓. ตรวจแบบทดสอบก่อนการเรียนรู้
๘.การวัดผลและประเมินผล
การประเมินผล
สิ่งที่ต้องการวัด
วิธีวัดผล
เครื่องมือวัดผล
เกณฑ์การประเมิน
นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการเขียนเรียงความและสามารถเขียนเรียงความได้อย่างสละสลวยและถูกต้อง

.สังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน
.การแต่งกลอนของนักเรียน
.การซักถามและการตอบคำถาม
.ตรวจใบงาน
.ตรวจแบบฝึกหัด
๖.ตรวจแบบทดสอบก่อนการเรียนรู้
๑. ใบงาน
๒. แบบทดสอบก่อนการเรียนรู้
๓. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
ถือเกณฑ์การผ่านร้อยละ  ๗๐




การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ครูผู้สอนนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดการเรียนรู้อย่างไร

       ห่วง
      ประเด็น
ความพอประมาณ
ความมีเหตุผล
การสร้างภูมิคุ้มกันในตัว
เนื้อหา/สาระที่สอน
-ครูวางแผนในการจัดการเนื้อหาที่เหมาะสมกับเวลา  ผู้เรียน
-เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการในการเรียนรู้ที่ครบถ้วน
-ครูจัดการสอนได้ครบถ้วนเหมาะสมกับผู้เรียนทุกคน
เวลา
-ครูจัดเวลาได้เหมาะสมเพียงพอต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
-เพื่อให้การดำเนินการสอนเป็นไปอย่างราบรื่น
-ครูใช้เวลาได้คุ้มค่าเหมาะสมไม่ส่งผลกระทบต่อตนเอง  ผู้เรียนและเพื่อนร่วมงาน
กิจกรรมการเรียนการสอน
-ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้เหมาะสมเพียงพอต่อการรับรู้ของผู้เรียน
-เพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้อย่างครบถ้วน สนุกสนานและเกิดประโยชน์สูงสุด
-ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้ครบถ้วนเหมาะสมกับผู้เรียนทุกคน
อุปกรณ์/สื่อ
-ครูจัดเตรียมอุปกรณ์ที่สอดคล้องและเอื้อประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอน
-เพื่อนักเรียนจะได้ใช้สื่อและอุปกรณ์ต่างๆให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการเรียนรู้
-ครูจัดการเรียนการสอนได้ถูกต้องตรงตามเนื้อหาไม่หลงประเด็นในการสอน                                            -ครูจัดการเรียนการสอนได้ถูกต้องตรงตามเนื้อหาไม่หลงประเด็นในการสอน
ความรู้
ครูมีความรู้ความเข้าใจในการจัดกิจกรรมการรู้เรื่องการเขียนจดหมาย รู้หลักจิตวิทยา และรู้วิธีวัดประเมินผลนักเรียน
คุณธรรม
ครูมีความขยัน อดทนในการออกแบบการเรียนรู้ มีความรับผิดชอบในกิจกรรมการเรียนการสอนและมีเมตตาธรรม อคติ 4 ต่อนักเรียนทุกคน


คุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงที่เกิดกับผู้เรียน
ความพอประมาณ
ความมีเหตุผล
การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว
-                   ทำแบบทดสอบได้ถูกต้องตามเกณฑ์และตรงตามเวลาที่กำหนด
-                   ใช้ภาษาได้เหมาะสมไม่ทำให้ตนและผู้อื่นเดือดร้อน
- การเรียนรู้เรื่องการเขียนเรียงความเป็นกระบวนการหนึ่งในการใช้ทักษะในการเขียน
- นักเรียนตระหนักถึงคุณค่าทางภาษา                                                          - นักเรียนมีทักษะกระบวนการด้านภาษาและใช้ภาษาได้เหมาะสม                   
- นักเรียนมีทักษะในการวางแผนในการทำงาน                                            
                     
ความรู้      -   นักเรียนมีความรู้เรื่องการเขียนเรียงความ
คุณธรรม    -  ขยันในการปฏิบัติงาน  มีระเบียบวินัยในการทำงาน  มีความรับผิดชอบ  ประหยัดในการใช้วัสดุอุปกรณ์ในการเรียน  มีวินัยและทำงานเสร็จตรงตามเวลากำหนด

ส่งผลต่อความสมดุล  มั่นคง  ยั่งยืนใน    มิติ  ดังนี้
มิติวัตถุ
มิติสังคม
มิติสิ่งแวดล้อม
มิติวัฒนธรรม
-มีความรู้เรื่องการใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มีคุณค่าตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
- มีความรู้ในการทำงานร่วมกับผู้อื่นยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
- มีความรู้ความเข้าใจด้านภาษา
- มีทักษะในการใช้วัสดุอุปกรณ์ให้เกิดคุณค่าสูงสุดตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
- มีทักษะกระบวนการในการทำงานร่วมกับผู้อื่นยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการเดินตามรอยเศรษฐกิจพอเพียง
- ใช้ภาษาได้ถูกต้องเหมาะสม
- ใช้วัสดุอุปกรณ์ให้เกิดคุณค่าสูงสุดตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
- มีความรับผิดชอบต่อคำพูดและการกระทำของตน                                             - ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- ใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด
- สืบสานและอนุรักษ์ภาษา

.บันทึกหลังสอน
ผลการจัดการเรียนรู้
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
ปัญหาที่เกิดขึ้น
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
แนวทางการแก้ไขปัญหา
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะ
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
ความเห็นฝ่ายวิชาการ
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................                                                                                                                        ลงชื่อ.......................................................                                          
                                                                                                                             (นายกมล   เฮงประเสริฐ)
                                                                                                                       ................./................../..................
ความเห็นผู้อำนวยการโรงเรียน
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
                                                                                           ลงชื่อ..............................................................
                                                                                                                              (นายมงคล   ชื่นชม)
                                                                                                                      ................./................../...............